THE BEST SIDE OF เศรษฐกิจ

The best Side of เศรษฐกิจ

The best Side of เศรษฐกิจ

Blog Article

วัง

ถัดมา มีภูมิคุ้มกันที่จะเป็นกันชนช่วยลดแรงกระแทกเมื่อเกิดช็อก โดยเฉพาะในภาวะที่ความไม่แน่นอนสูง ไม่รู้แน่ชัดว่าช็อกจะมาในรูปแบบใดและเมื่อใด โดยกันชนทางการเงินเป็นเรื่องพื้นฐาน คือ งบดุลของภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งครัวเรือน ธุรกิจ สถาบันการเงิน และภาครัฐ เช่น ไม่ควรมีสัดส่วนหนี้ที่สูงเกินไป รวมถึงต้องระมัดระวังการก่อหนี้ใหม่ที่ไม่สร้างรายได้เพิ่ม นอกจากกันชนแล้ว ยังต้องมีทางเลือกอื่น ๆ เพิ่มเพื่อช่วยกระจายความเสี่ยง เปรียบเสมือนกับการมีถนนหลักถนนรอง หากถนนเส้นหลักเกิดอุบัติเหตุ ก็ยังมีถนนรองไว้รองรับ เช่นเดียวกัน ระบบการชำระเงินหรือการค้าระหว่างประเทศก็ควรมีทางเลือกอื่นๆ รองรับ ช่วยกระจายความเสี่ยง เช่น การใช้เงินสกุลท้องถิ่นในการชำระค้าสินค้าได้เพิ่มเติม เพื่อลดผลกระทบจากความผันผวนของเงินสกุลหลักอย่างเงินดอลลาร์สหรัฐฯ หรือการมีระบบการชำระเงินอื่นสำรองไว้ใช้หากระบบหลักเกิดปัญหา

ดูแลให้ระบบเศรษฐกิจการเงินยังคงดำเนินต่อไปได้ ในช่วงที่ประสบภาวะวิกฤต โดยเป็นการดำเนินงานนอกเหนือจากหน้าที่หลักของ ธปท.

ดัชนีและเครื่องชี้ต่าง ๆ สำหรับการวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจ

ดัชนีและเครื่องชี้เศรษฐกิจการเงินทั้งหมด

การเก็บรวบรวมข้อมูล มาตรฐานการจัดทำ และเผยแพร่ข้อมูลของ ธปท.

สนับสนุนการดูแลเสถียรภาพเศรษฐกิจการเงินไทยและภูมิภาค รวมถึงเสริมสร้างบทบาทของ ธปท. ให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล

เพิ่มประสิทธิภาพในการลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐาน

ข้อมูลสถิติเกี่ยวกับการดำรงฐานะและการดำเนินงานของสถาบันการเงิน

เพื่อให้ท่านสามารถเข้าใช้งานในส่วนต่าง ๆ ของเว็บไซต์ได้อย่างปลอดภัย และมีประสิทธิภาพ

ใช้เครื่องมือคำนวณต่าง ๆ เพื่อทำให้เรื่องเงินเป็นเรื่องง่ายขึ้นอีกนิด

ไอเอ็มเอฟ เตือนประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ตั้งรับธนาคารกลางสหรัฐฯ ขึ้นดอกเบี้ย

สวัสดีผู้อ่านทุกท่านค่ะ ในฉบับก่อน ดิฉันได้ฉายภาพแนวโน้มเศรษฐกิจไทยกันไปแล้วว่า เศรษฐกิจปีนี้ น่าจะมีแรงขับเคลื่อนที่สมดุลขึ้นจากการส่งออกและการผลิตสินค้าที่คาดว่าจะกลับมาฟื้นตัวชัดเจนขึ้น ซึ่งจะเสริมทัพภาคการท่องเที่ยวที่จะยังฟื้นต่อเนื่อง แต่ปฏิเสธไม่ได้ว่า เส้นทางข้างหน้ายังมีความท้าทายรออยู่อีกมาก แบงก์ชาติชวนคุยฉบับนี้ เลยอยากชวนทุกท่านมาร่วมส่องความท้าทายที่เศรษฐกิจไทยกำลังเผชิญเพื่อเตรียมความพร้อมที่จะรับมือได้อย่างทันการณ์

การวิเคราะห์ผลกระทบรวมทั้งประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมายและกฎเกณฑ์ เพื่อให้มีความสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน เศรษฐกิจ ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบที่ไม่เป็นธรรม ไม่สร้างภาระทั้งต่อภาครัฐ ภาคธุรกิจ และภาคประชาชนเกินความจำเป็น ขณะที่ยังสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ในการดำเนินการได้ตามภารกิจของ ธปท.

Report this page